นารีนครา

ฉือลี่, สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, ผู้แปล
ความนิยม : | จำนวนผู้เข้าชม : 159 ครั้ง
เลขเรียกหนังสือ : น ฉ345น 2560
สำนักพิมพ์ : นานมีบุ๊คส์
ปีที่พิมพ์ : 2560
หมวดหมู่ : นวนิยาย
จำนวนหน้า : 160 หน้า

"นารีนครา" พระราชนิพนธ์แปลในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เล่มนี้ เป็นนวนิยายสมัยใหม่ของ "ฉือลี่" นักเขียนหญิงผู้มีชื่อเสียง สร้างวรรณกรรมร่วมสมัยของจีนหลายเรื่อง เนื้อหาในเล่ม เป็นเรื่องราวสะท้อนสังคม และในขณะเดียวกันก็แสดงให้เห็นความงดงามของ "ความเป็นหญิง" ซึ่งมิได้หมายถึงรูปลักษณ์ภายนอกอันชวนให้หลงใหล หากแต่อยู่ในพลังและบทบาทหน้าที่อันยิ่งใหญ่ของความเป็นแม่ ความเป็นภรรยา และที่สำคัญที่สุดคือความเป็นเพื่อนแท้ ผ่านตัวละครสำคัญ 3 ตัว ซึ่งเป็นตัวแทนหญิงรุ่นเก่า รุ่นกลาง รุ่นใหม่ ที่ได้มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันในมิติต่างๆ และได้ถ่ายทอดเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ในกระแสสังคมที่มีการะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อน

การเชิดชู "ความเป็นหญิง" ในนวนิยายนี้ ทวีความลึกซึ้งยิ่งขึ้น เมื่อผู้เขียนใช้ฉากสำคัญคือ "นครอู๋ฮั่น" ซึ่งเป็นนครที่มีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมยาวนาน การบรรยายฉากอย่างละเอียดให้เห็นชีวิต ความงาม และความยิ่งใหญ่ของนครอู๋ฮั่นนี้ จึงเป็นฉากที่เพิ่มความหมายลึกซึ้งให้กับชื่อเรื่อง "นารีนครา" จนอาจกล่าวได้ว่า "นารีนครา" เป็นนวนิยายที่สะท้อนวีรกรรมอันเกิดจากดวงใจแกร่งแท้ดั่งเหล็กกล้าของหญิง ซึ่งได้ดำเนินมาแล้วในอดีต ดำรงอยู่ในปัจจุบัน และจะสืบเนื่องต่อไปในอนาคต

บาร์โค้ด เล่มที่ / ฉบับที่ สถานที่จัดเก็บ สถานะ
M0026209 M-ห้องสมุดภะรตราชา อยู่บนชั้นวางหนังสือ  เข้าสู่ระบบ 
แชร์ข้อมูลไปยัง :
0

MARC Information

245 a : ชื่อเรื่อง (Title) 
นารีนครา 
100 a : ชื่อผู้แต่ง (Author) 
020 a : ISBN 
9786160413843 
050 a : เลขผู้แต่ง (Author ID) 
050 b : ปีที่พิมพ์ (Publish year) 
2560 
260 a : สถานที่พิมพ์ 
กรุงเทพฯ 
260 b : สำนักพิมพ์/โรงพิมพ์ 
นานมีบุ๊คส์ 
300 a : จำนวนหน้า 
160 
300 b : ภาพประกอบ 
ภาพประกอบ 
300 c : ลักษณะรูปร่าง (ขนาด) 
21 ซม. 
520 a : บทคัดย่อ/เรื่องย่อ 
"นารีนครา" พระราชนิพนธ์แปลในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เล่มนี้ เป็นนวนิยายสมัยใหม่ของ "ฉือลี่" นักเขียนหญิงผู้มีชื่อเสียง สร้างวรรณกรรมร่วมสมัยของจีนหลายเรื่อง เนื้อหาในเล่ม เป็นเรื่องราวสะท้อนสังคม และในขณะเดียวกันก็แสดงให้เห็นความงดงามของ "ความเป็นหญิง" ซึ่งมิได้หมายถึงรูปลักษณ์ภายนอกอันชวนให้หลงใหล หากแต่อยู่ในพลังและบทบาทหน้าที่อันยิ่งใหญ่ของความเป็นแม่ ความเป็นภรรยา และที่สำคัญที่สุดคือความเป็นเพื่อนแท้ ผ่านตัวละครสำคัญ 3 ตัว ซึ่งเป็นตัวแทนหญิงรุ่นเก่า รุ่นกลาง รุ่นใหม่ ที่ได้มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันในมิติต่างๆ และได้ถ่ายทอดเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ในกระแสสังคมที่มีการะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อน การเชิดชู "ความเป็นหญิง" ในนวนิยายนี้ ทวีความลึกซึ้งยิ่งขึ้น เมื่อผู้เขียนใช้ฉากสำคัญคือ "นครอู๋ฮั่น" ซึ่งเป็นนครที่มีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมยาวนาน การบรรยายฉากอย่างละเอียดให้เห็นชีวิต ความงาม และความยิ่งใหญ่ของนครอู๋ฮั่นนี้ จึงเป็นฉากที่เพิ่มความหมายลึกซึ้งให้กับชื่อเรื่อง "นารีนครา" จนอาจกล่าวได้ว่า "นารีนครา" เป็นนวนิยายที่สะท้อนวีรกรรมอันเกิดจากดวงใจแกร่งแท้ดั่งเหล็กกล้าของหญิง ซึ่งได้ดำเนินมาแล้วในอดีต ดำรงอยู่ในปัจจุบัน และจะสืบเนื่องต่อไปในอนาคต 
650 a : หัวเรื่องทั่วไป (หัวเรื่องหลัก) 
650 a : หัวเรื่องทั่วไป (หัวเรื่องหลัก) 
650 a : หัวเรื่องทั่วไป (หัวเรื่องหลัก) 
700 a : รายการเพิ่มชื่อบุคคล (ชื่อ นามสกุล) (Personal name) 
999 a : Shelf color (Staff) 
M-225 
999 c : ผู้ทำรายการ (Staff) 
M-225 

ไม่มีความคิดเห็น

  1. ยังไม่มีความคิดเห็น

เราใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ หากคุณยังคงใช้ไซต์นี้ต่อไปหมายความว่าคุณยอมรับข้อกำหนดและเงื่อนไขและนโยบายความเป็นส่วนตัว